สาระน่ารู้เกี่ยวกับการรับเหมาก่อสร้างโรงงาน

       สำหรับการรับเหมาก่อสร้างโรงงานนั้นได้รับความนิยมมากขึ้นในยุคปัจจุบัน เนื่องจากธุรกิจ SME หรือธุรกิจออนไลน์มีการเติบโตอย่างรวดเร็วส่งผลให้ผู้ประกอบการจำเป็นต้องก่อสร้างโรงงานเพิ่มเพื่อเพิ่มโอกาสในการขยายกำลังการผลิตให้กับสินค้าและบริการของตน ซึ่งถ้าหากมองเพียงผิวเผินก็จะคิดว่าการรับเหมาก่อสร้างโรงงานสามารถทำได้ง่ายไม่ยาก แต่แท้จริงแล้วการก่อสร้างโรงงานจำเป็นที่จะต้องขออนุญาตก่อนที่จะสร้างสามารถก่อสร้างโรงงานได้

 

รับเหมาก่อสร้างโรงงาน   รับเหมาก่อสร้างโรงงาน

 

 

หากจะจ้างผู้รับเหมาก่อสร้างโรงงานจำเป็นที่จะต้องคำนึงถึงประเภทของโรงงานตามกฎหมาย ดังนี้


• โรงงานประเภทที่1  คือ โรงงานที่มีเครื่องจักรไม่เกิน 20 แรงม้า และมีคนงานไม่เกิน 20 คน โรงงานประเภทนี้ สามารถดำเนินการได้เลยไม่ต้องขอใบอนุญาต
• โรงงานประเภทที่ 2 คือ โรงงานที่มีเครื่องจักรมากกว่า 50 แรงม้า แต่ไม่เกิน 75 แรงม้า (50-75 แรงม้า) และมีพนักงานมากกว่า 50 คนแต่ไม่เกิน 75 คน ไม่ต้องขอใบอนุญาตในการจัดตั้ง แต่จะต้องทำการแจ้งการความจำนนในการประกอบกิจการและชำระค่าธรรมเนียมรายปี
• โรงงานประเภทที่ 3 คือ โรงงานมีเครื่องจักรมากกว่า 75 แรงม้า และมีพนักงานในโรงงานมากกว่า 75 คน โรงงานประเภทนี้จะต้องทำการขอใบอนุญาตในการจัดตั้งโรงงาน (ใบร.ง.4) เนื่องจากถือว่าเป็นโรงงานที่อาจก่อให้เกิดมลภาวะ


       **** เงื่อนไขในการจัดตั้งโรงงาน หากเป็นโรงงานจำพวกที่ 3 (โรงงานที่มีเครื่องจักรขนาด 75 แรงม้าขึ้นไป และ มีพนักงานมากกว่า 75 คน) รวมทั้งโรงงานประเภทที่ 1 และ 2 ที่ถูกจัดรวมเป็นจำพวกที่ 3 เพราะกิจการอาจก่อให้เกิดมลพิษ จะต้องทำการขออนุญาตจัดตั้งโรงงาน และขอใบอนุญาตประกอบกิจการ นั่นก็คือใบ ร.ง.4 ****

 

เอกสารสำหรับการขออนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ได้แก่


• คำขออนุญาตประกอบกิจการโรงงาน
• หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล (สำหรับกรณีโรงงานที่จดเป็นนิติบุคคล และ คัดลอกสำเนาไม่เกิน 3 เดือน)
• สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และ สำเนาทะเบียนบ้าน / หนังสือเดินทางของผู้ที่จะลงนาม
• หนังสือมอบอำนาจ รับเหมาก่อสร้างอาคาร (กรณีที่ไม่ได้มาดำเนินการด้วยตัวเอง)
• เอกสารแสดงกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่จัดตั้งโรงงาน (โฉนดที่ดิน)
• แบบแปลนแผนผังอาคารภายในโรงงาน (จะต้องผ่านการลงนามรับรองความปลอดภัยจากวิศวกร)
• แผนผังแสดงการติดตั้งเครื่องจักร (จะต้องผ่านการลงนามรับรองความปลอดภัยจากวิศวกร)
• สำเนาหนังสืออนุญาตก่อสร้าง
• ขั้นตอนการผลิตโดยละเอียด
• เอกสารเพิ่มเติมอื่นๆ ที่เจ้าหน้าที่กำหนด


       **เอกสารดังกล่าวเป็นเอกสารเบื้องต้นในการยื่นเพื่อขอใบอนุญาตจัดตั้งโรงงาน นอกจากเอกสารเบื้องต้นแล้วอาจจะมีเอกสารเพิ่มเติมขึ้นอยู่กับประเภทของโรงงาน**

 

ขั้นตอนการไปยื่นเอกสารกับกรมโรงงานอุตสาหกรรมตามจังหวัดที่โรงงานทำการจัดตั้ง ดังนี้


• ผู้ประกอบการทำการยื่นคำขอจัดตั้งโรงงาน (ร.ง.3) และ เอกสารสำหรับการขอใบอนุญาตให้เรียบร้อย
• เจ้าหน้าที่จะทำการตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร และ สถานที่จัดตั้งโรงงาน ตั้งแต่กระบวนการผลิต การป้องกัน และ การบำบัด
• เจ้าหน้าที่จะทำการแจ้งผลการพิจารณาให้ผู้ประกอบการทราบ


       ***หากได้รับอนุญาตให้จัดตั้งโรงงานได้จะต้องทำการชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาต และ จัดตั้งโรงงานภายในระยะเวลาที่ระบุเอาไว้ และ ในกรณีที่ไม่ได้รับอนุญาตให้จัดตั้งโรงงานสามารถทำการยื่นอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีกระทรวงอุตสาหกรรมได้ภายใน 30 วัน***

       ดังนั้นถ้าหากโรงงานเป็นประเภทที่3 แล้วทำการจัดตั้งโดยไม่ได้มีใบอนุญาตจะถือว่าโรงงานได้ฝ่าฝืนกฎหมาย พ.ร.บ โรงงาน มีโทษจำคุก 2 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ หรือโรงงานของประเภทที่ 2 ต้องแจ้งความจำนนในการประกอบกิจการก่อนจัดตั้งโรงงาน หากฝ่าฝืนมีโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือ ปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ จะเห็นได้ว่าการขอใบอนุญาตจัดตั้งโรงงาน และ ประกอบกิจการมีความสำคัญอย่างมาก หากเป็นหนึ่งในผู้ประกอบการที่กำลังวางแผน หรือ คิดจะสร้างโรงงาน อย่าได้ละเลยกฎหมาย และ อย่าลืมที่จะขอใบอนุญาตก่อนจัดตั้งโรงงาน ไม่อย่างนั้นโรงงานคุณอาจจะเป็นโรงงานผิดกฎหมายได้ (ผิดกฎหมาย พ.ร.บ โรงงาน)

 


       บริษัท ช. มั่นคง บางบอน จำกัด ผู้เชี่ยวชาญด้านการผลิตโครงสร้างสำเร็จรูป และติดตั้งโครงสร้างคอนกรีตสำเร็จรูป โครงสร้างสําเร็จรูป precast ข้อได้เปรียบของการติดตั้งโครงสร้างสำเร็จรูป งบประมาณถูกกว่า สามารถติดตั้งเสร็จอย่างรวดเร็ว มีความมั่นคง แข็งแรง และปลอดภัย ที่ผลิตและควบคุมคุณภาพจากโรงงานที่ได้มาตรฐาน ผ่าน QC. ทุกขั้นตอน เราพร้อมให้บริการรับเหมาก่อสร้างโรงงาน รับก่อสร้างอาคาร รับก่อสร้างอาคารพาณิชย์ โดยผู้เชี่ยวชาญและทีมงานมืออาชีพที่พร้อมให้บริการลูกค้าด้วยความจริงใจ
---------------------------------------------
บทความที่เกี่ยวข้อง
มาทำความรู้จัก บริษัท ช.มั่นคง บางบอน จำกัด
ข้อควรระวังงานก่อสร้างด้วยระบบพรีคาสท์คอนกรีต
5 ข้อที่เจ้าของโกดังต้องรู้ก่อนการเริ่มปลูกสร้าง 

สาระน่ารู้เกี่ยวกับการรับเหมาก่อสร้างโรงงาน

       สำหรับการรับเหมาก่อสร้างโรงงานนั้นได้รับความนิยมมากขึ้นในยุคปัจจุบัน เนื่องจากธุรกิจ SME หรือธุรกิจออนไลน์มีการเติบโตอย่างรวดเร็วส่งผลให้ผู้ประกอบการจำเป็นต้องก่อสร้างโรงงานเพิ่มเพื่อเพิ่มโอกาสในการขยายกำลังการผลิตให้กับสินค้าและบริการของตน ซึ่งถ้าหากมองเพียงผิวเผินก็จะคิดว่าการรับเหมาก่อสร้างโรงงานสามารถทำได้ง่ายไม่ยาก แต่แท้จริงแล้วการก่อสร้างโรงงานจำเป็นที่จะต้องขออนุญาตก่อนที่จะสร้างสามารถก่อสร้างโรงงานได้

 

รับเหมาก่อสร้างโรงงาน   รับเหมาก่อสร้างโรงงาน

 

 

หากจะจ้างผู้รับเหมาก่อสร้างโรงงานจำเป็นที่จะต้องคำนึงถึงประเภทของโรงงานตามกฎหมาย ดังนี้


• โรงงานประเภทที่1  คือ โรงงานที่มีเครื่องจักรไม่เกิน 20 แรงม้า และมีคนงานไม่เกิน 20 คน โรงงานประเภทนี้ สามารถดำเนินการได้เลยไม่ต้องขอใบอนุญาต
• โรงงานประเภทที่ 2 คือ โรงงานที่มีเครื่องจักรมากกว่า 50 แรงม้า แต่ไม่เกิน 75 แรงม้า (50-75 แรงม้า) และมีพนักงานมากกว่า 50 คนแต่ไม่เกิน 75 คน ไม่ต้องขอใบอนุญาตในการจัดตั้ง บริษัทรับเหมาก่อสร้าง บางบอน แต่จะต้องทำการแจ้งการความจำนนในการประกอบกิจการและชำระค่าธรรมเนียมรายปี
• โรงงานประเภทที่ 3 คือ โรงงานมีเครื่องจักรมากกว่า 75 แรงม้า และมีพนักงานในโรงงานมากกว่า 75 คน โรงงานประเภทนี้จะต้องทำการขอใบอนุญาตในการจัดตั้งโรงงาน (ใบร.ง.4) เนื่องจากถือว่าเป็นโรงงานที่อาจก่อให้เกิดมลภาวะ


       **** เงื่อนไขในการจัดตั้งโรงงาน หากเป็นโรงงานจำพวกที่ 3 (โรงงานที่มีเครื่องจักรขนาด 75 แรงม้าขึ้นไป และ มีพนักงานมากกว่า 75 คน) รวมทั้งโรงงานประเภทที่ 1 และ 2 ที่ถูกจัดรวมเป็นจำพวกที่ 3 เพราะกิจการอาจก่อให้เกิดมลพิษ จะต้องทำการขออนุญาตจัดตั้งโรงงาน และขอใบอนุญาตประกอบกิจการ นั่นก็คือใบ ร.ง.4 ****

 

เอกสารสำหรับการขออนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ได้แก่


• คำขออนุญาตประกอบกิจการโรงงาน
• หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล (สำหรับกรณีโรงงานที่จดเป็นนิติบุคคล และ คัดลอกสำเนาไม่เกิน 3 เดือน)
• สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และ สำเนาทะเบียนบ้าน / หนังสือเดินทางของผู้ที่จะลงนาม
• หนังสือมอบอำนาจ (กรณีที่ไม่ได้มาดำเนินการด้วยตัวเอง)
• เอกสารแสดงกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่จัดตั้งโรงงาน (โฉนดที่ดิน)
• แบบแปลนแผนผังอาคารภายในโรงงาน (จะต้องผ่านการลงนามรับรองความปลอดภัยจากวิศวกร)
• แผนผังแสดงการติดตั้งเครื่องจักร (จะต้องผ่านการลงนามรับรองความปลอดภัยจากวิศวกร)
• สำเนาหนังสืออนุญาตก่อสร้าง
• ขั้นตอนการผลิตโดยละเอียด
• เอกสารเพิ่มเติมอื่นๆ ที่เจ้าหน้าที่กำหนด


       **เอกสารดังกล่าวเป็นเอกสารเบื้องต้นในการยื่นเพื่อขอใบอนุญาตจัดตั้งโรงงาน นอกจากเอกสารเบื้องต้นแล้วอาจจะมีเอกสารเพิ่มเติมขึ้นอยู่กับประเภทของโรงงาน**

 

ขั้นตอนการไปยื่นเอกสารกับกรมโรงงานอุตสาหกรรมตามจังหวัดที่โรงงานทำการจัดตั้ง ดังนี้


• ผู้ประกอบการทำการยื่นคำขอจัดตั้งโรงงาน (ร.ง.3) และ เอกสารสำหรับการขอใบอนุญาตให้เรียบร้อย
• เจ้าหน้าที่จะทำการตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร และ สถานที่จัดตั้งโรงงาน ตั้งแต่กระบวนการผลิต การป้องกัน และ การบำบัด
• เจ้าหน้าที่จะทำการแจ้งผลการพิจารณาให้ผู้ประกอบการทราบ


       ***หากได้รับอนุญาตให้จัดตั้งโรงงานได้จะต้องทำการชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาต และ จัดตั้งโรงงานภายในระยะเวลาที่ระบุเอาไว้ และ ในกรณีที่ไม่ได้รับอนุญาตให้จัดตั้งโรงงานสามารถทำการยื่นอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีกระทรวงอุตสาหกรรมได้ภายใน 30 วัน***

       ดังนั้นถ้าหากโรงงานเป็นประเภทที่3 แล้วทำการจัดตั้งโดยไม่ได้มีใบอนุญาตจะถือว่าโรงงานได้ฝ่าฝืนกฎหมาย พ.ร.บ โรงงาน มีโทษจำคุก 2 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ หรือโรงงานของประเภทที่ 2 ต้องแจ้งความจำนนในการประกอบกิจการก่อนจัดตั้งโรงงาน หากฝ่าฝืนมีโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือ ปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ จะเห็นได้ว่าการขอใบอนุญาตจัดตั้งโรงงาน และ ประกอบกิจการมีความสำคัญอย่างมาก หากเป็นหนึ่งในผู้ประกอบการที่กำลังวางแผน หรือ คิดจะสร้างโรงงาน อย่าได้ละเลยกฎหมาย และ อย่าลืมที่จะขอใบอนุญาตก่อนจัดตั้งโรงงาน ไม่อย่างนั้นโรงงานคุณอาจจะเป็นโรงงานผิดกฎหมายได้ (ผิดกฎหมาย พ.ร.บ โรงงาน)

 


       บริษัท ช. มั่นคง บางบอน จำกัด ผู้เชี่ยวชาญด้านการผลิตโครงสร้างสำเร็จรูป และติดตั้งโครงสร้างคอนกรีตสำเร็จรูป โครงสร้างสําเร็จรูป precast ข้อได้เปรียบของการติดตั้งโครงสร้างสำเร็จรูป งบประมาณถูกกว่า สามารถติดตั้งเสร็จอย่างรวดเร็ว มีความมั่นคง แข็งแรง และปลอดภัย ที่ผลิตและควบคุมคุณภาพจากโรงงานที่ได้มาตรฐาน ผ่าน QC. ทุกขั้นตอน เราพร้อมให้บริการรับเหมาก่อสร้างโรงงาน รับก่อสร้างอาคาร รับก่อสร้างอาคารพาณิชย์ โดยผู้เชี่ยวชาญและทีมงานมืออาชีพที่พร้อมให้บริการลูกค้าด้วยความจริงใจ
---------------------------------------------
บทความที่เกี่ยวข้อง
มาทำความรู้จัก บริษัท ช.มั่นคง บางบอน จำกัด
ข้อควรระวังงานก่อสร้างด้วยระบบพรีคาสท์คอนกรีต
5 ข้อที่เจ้าของโกดังต้องรู้ก่อนการเริ่มปลูกสร้าง 

แขนกลหุ่นยนต์ (Industrial Robot) ชนิดใดบ้างที่นิยมในวงการอุตสาหกรรม

       à¸ªà¸³à¸«à¸£à¸±à¸šà¹ƒà¸™à¸¢à¸¸à¸„ปัจจุบันแขนกลหุ่นยนต์ (Industrial Robot) ได้เข้ามามีบทบาทสำคัญกับวงการอุตสาหกรรมในประเทศไทยมากขึ้น เนื่องจากแขนกลหุ่นยนต์เป็นเครื่องจักรที่ถูกออกแบบควบคุมด้วยระบบอัตโนมัติโดยการเขียนโปรแกรมให้เคลื่อนที่ได้อย่างน้อย 3 แกนหรือมากกว่า ซึ่งแขนกลหุ่นยนต์ (Industrial Robot) สามารถออกแบบให้ยึดอยู่กับที่หรือย้ายตำแหน่งไปมาได้ตามความเหมาะสมของประเภทงานที่จะใช้ในงานอุตสาหกรรมนั้นๆ โดยการแบ่งชนิดของหุ่นยนต์จะแบ่งตามลักษณะรูปทรงของพื้นที่ทำงาน (Envelope Geometric) ของจุดต่อ (Joint) ของหุ่นยนต์สามารถแบ่งได้ 2 แบบ ดังนี้ 1. ชนิด Revolute (R) เป็นการหมุนรอบแกน (Rotary) 2.Prismatic (P) เป็นการเคลื่อนที่เชิงเส้น (Linear motion) และเมื่อนำจุดต่อของหุ่นยนต์ทั้งสองแบบมาต่อเข้าด้วยกันอย่างน้อย 3 แกนหลักจะได้พื้นที่ทำงาน ( Work envelope) ที่มีลักษณะแตกต่างกันไปก็จะได้ประเภทแขนกลหุ่นยนต์ต่างๆ ใช้ในวงการอุตสาหกรรม

 

แขนกลหุ่นยนต์ (Industrial Robot)

 

 

ประเภทของแขนกลหุ่นยนต์ที่นิยมใช้ในวงการอุตสาหกรรม ได้แก่


1. Cartesian (Gantry) Robot แกนทั้ง 3 ของแขนกลหุ่นยนต์จะเคลื่อนที่เป็นแบบเชิงเส้น (Prismatic) ถ้าโครงสร้างมีลักษณะคล้าย Overhead Crane จะเรียกว่าเป็นหุ่นยนต์ชนิด Gantry แต่ถ้าหุ่นยนต์ไม่มีขาตั้งหรือขาเป็นแบบอื่น เรียกว่า ชนิด Cartesian

ข้อดี

1. เคลื่อนที่เป็นแนวเส้นตรงทั้ง 3 มิติ
2. การเคลื่อนที่สามารถทำความเข้าใจง่าย
3. มีส่วนประกอบง่ายๆ
4. โครงสร้างแข็งแรงตลอดการเคลื่อนที่


ข้อเสีย

1. ต้องการพื้นที่ติดตั้งมาก
2. บริเวณที่หุ่นยนต์เข้าไปทำงานได้ จะเล็กกว่าขนาดของตัวหุ่นยนต์
3. ไม่สามารถเข้าถึงวัตถุจากทิศทางข้างใต้ได้
4. แกนแบบเชิงเส้นจะ Seal เพื่อป้องกันฝุ่นและของเหลวได้ยาก


การประยุกต์ใช้งาน

เนื่องจากโครงสร้างมีความแข็งแรงตลอดแนวการเคลื่อนที่ ดังนั้นจึงเหมาะกับงานเคลื่อนย้ายของหนักๆ หรือเรียกว่างาน Pick-and-Place เช่น ใช้โหลดชิ้นงานเข้าเครื่องจักร (Machine loading) ใช้จัดเก็บชิ้นงาน (Stacking) นอกจากนี้ยังสามารถใช้ในงานประกอบ (Assembly) ที่ไม่ต้องการเข้าถึงในลักษณะที่มีมุมหมุน เช่น ประกอบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และงาน Test ต่างๆ

2. Cylindrical Robot หุ่นยนต์ประเภทนี้จะมีแกนที่ 2 (ไหล่) และแกนที่ 3 (ข้อศอก) เป็นแบบ Prismatic ส่วนแกนที่ 1 (เอว) จะเป็นแบบหมุน (Revolute) ทำให้การเคลื่อนที่ได้พื้นที่การทำงานเป็นรูปทรงกระบอก

 à¸‚้อดี

1. มีส่วนประกอบไม่ซับซ้อน
2. การเคลื่อนที่สามารถเข้าใจได้ง่าย
3. สามารถเข้าถึงเครื่องจักรที่มีการเปิด – ปิด หรือเข้าไปในบริเวณที่เป็นช่องหรือโพรงได้ง่าย (Loading) เช่น การโหลดชิ้นงานเข้าเครื่อง CNC


ข้อเสีย

1. มีพื้นที่ทำงานจำกัด
2. แกนที่เป็นเชิงเส้นมีความยุ่งยากในการ Seal เพื่อป้องกันฝุ่นและของเหลว


การประยุกต์ใช้งาน

โดยทั่วไปจะใช้ในการหยิบยกชิ้นงาน (Pick-and-Place) หรือป้อนชิ้นงานเข้าเครื่องจักร เพราะสามารถเคลื่อนที่เข้าออกบริเวณที่เป็นช่องโพรงเล็กๆ ได้สะดวก

3. Spherical Robot (Polar) มีสองแกนที่เคลื่อนในลักษณะการหมุน (Revolute Joint) คือแกนที่ 1 (เอว) และแกนที่ 2 (ไหล่) ส่วนแกนที่ 3 (ข้อศอก) จะเป็นลักษณะของการเคลื่อนที่แนวเส้นตรง 

ข้อดี

1. มีปริมาตรการทำงานมากขึ้นเนื่องจากการหมุนของแกนที่ 2 (ไหล่)
2. สามารถที่จะก้มลงมาจับชิ้นงานบนพื้นได้สะดวก


ข้อเสีย

1. มีระบบพิกัด (Coordinate) และส่วนประกอบ ที่ซับซ้อน
2. การเคลื่อนที่และระบบควบคุมมีความซับซ้อนขึ้น


การประยุกต์ใช้งาน

ใช้ในงานที่มีการเคลื่อนที่ในแนวตั้ง (Vertical) เพียงเล็กน้อย เช่น การโหลดชิ้นงานเข้าออกจากเครื่องปั้ม (Press) หรืออาจจะใช้งานเชื่อมจุด (Spot Welding)

 

 à¹à¸‚นกลหุ่นยนต์


4. SCARA Robot จะมีลักษณะแกนที่ 1 (เอว) และแกนที่ 3 (ข้อศอก) หมุนรอบแกนแนวตั้ง และแกนที่ 2 จะเป็นลักษณะการเคลื่อนที่ขึ้นลง (Prismatic) ซึ่งหุ่นยนต์ SCARA จะเคลื่อนที่ได้รวดเร็วในแนวระนาบ และมีความแม่นยำสูง

ข้อดี

1. สามารถเคลื่อนที่ในแนวระนาบ และขึ้นลงได้รวดเร็ว
2. มีความแม่นยำสูง


ข้อเสีย

1. มีพื้นที่ทำงานจำกัด
2. ไม่สามารถหมุน (rotation)ในลักษณะมุมต่างๆได้
3. สามารถยกน้ำหนัก (Payload) ได้ไม่มากนัก


การประยุกต์ใช้งาน

เนื่องจากการเคลื่อนที่ในแนวระนาบและขึ้นลงได้รวดเร็วจึงเหมาะกับงานประกอบชิ้นส่วนทางอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งต้องการความรวดเร็วและการเคลื่อนที่ก็ไม่ต้องการการหมุนมากนัก แต่จะไม่เหมาะกับงานประกอบชิ้นส่วนทางกล (Mechanical Part) ซึ่งส่วนใหญ่การประกอบจะอาศัยการหมุน (Rotation)ในลักษณะมุมต่างๆ นอกจากนี้ SCARA Robot ยังเหมาะกับงานตรวจสอบ (Inspection) งานบรรจุภัณฑ์ (Packaging)

5. Articulated Arm ทุกแกนการเคลื่อนที่จะเป็นแบบหมุน (Revolute) รูปแบบการเคลื่อนที่จะคล้ายกับแขนคน ซึ่งจะประกอบด้วยช่วงเอว ท่อนแขนบน ท่อนแขนล่าง ข้อมือ การเคลื่อนที่ทำให้ได้พื้นที่การทำงาน 

ข้อดี

1. เนื่องจากทุกแกนจะเคลื่อนที่ในลักษณะ ของการหมุนทำให้มีความยืดหยุ่นสูงในการเข้าไปยังจุดต่างๆ
2. บริเวณข้อต่อ (Joint) สามารถ Seal เพื่อป้องกันฝุ่น ความชื้น หรือน้ำ รับออกแบบและผลิตเครื่องจักรระบบอัตโนมัติ ได้ง่าย
3. มีพื้นที่การทำงานมาก
4. สามารถเข้าถึงชิ้นงานทั้งจากด้านบน ด้านล่าง
5. เหมาะกับการใช้มอเตอร์ไฟฟ้า เป็นชุดขับเคลื่อน


ข้อเสีย

1. มีระบบพิกัด (Coordinate) ที่ซับซ้อน
2. การเคลื่อนที่และระบบควบคุมทำความ เข้าใจได้ยากขึ้น
3. ควบคุมให้เคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง (Linear) ได้ยาก
4.โครงสร้างไม่มั่นคงตลอดช่วงการเคลื่อนที่ เพราะบริเวณขอบ Work Envelope ปลายแขนจะ
5. มีการสั่น ทำให้ความแม่ยำลดลง


การประยุกต์ใช้งาน

หุ่นยนต์ชนิดนี้สามารถใช้งานได้กว้างขวางเพราะสามารถเข้าถึงตำแหน่งต่างๆ ได้ดี เช่น งานเชื่อม Spot Welding, Path Welding, งานยกของ, งานตัด, งานทากาว, งานที่มีการเคลื่อนที่ยากๆ เช่น งานพ่นสี งาน Sealing ฯลฯ

ดังนั้นจะเห็นได้ว่า Industrial Robot นั้นมีหลากหลายประเภท แต่ว่าสิ่งหนึ่งที่หุ่นยนต์อุตสาหกรรมมีประโยชน์เหมือนกัน คือ สามารถช่วยทุ่นแรงในการทำงานต่าง ๆ แทนมนุษย์ได้เป็นอย่างดี เช่น งานยกสินค้าจากสายงานการผลิต งานประกอบ งานเชื่อม งานตัด เป็นต้น

 

บริษัท ไอ.เอ็ม.อี. รีโวลูชั่น จำกัด


       à¸šà¸£à¸´à¸©à¸±à¸— ไอ.เอ็ม.อี. รีโวลูชั่น จำกัด เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านผลิตเครื่องจักรระบบอัตโนมัติที่ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมแบบครบวงจร เช่น เครื่องประกอบชิ้นงาน แขนกลหุ่นยนต์ เครื่องจักรระบบอัตโนมัติ หุ่นยนต์หยิบจับชิ้นงาน รถขนถ่ายวัสดุอัตโนมัติ เครื่องตรวจสอบและทดสอบชิ้นงาน เครื่องประกอบชิ้นงาน เป็นต้น ซึ่งทางบริษัทฯ รับออกแบบและผลิตเครื่องจักรระบบอัตโนมัติทุกชนิด โดยมีทีมงานผู้เชี่ยวชาญและเทคโนโลยีที่ทันสมัยสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้เป็นอย่างดี ตั้งแต่ช่วยลูกค้าตัดสินในเรื่องการลงทุน ด้านออโตเมชั้น การติดตั้ง การฝึกอบรมการใช้งาน รวมถึงการดูแลรักษาซ่อมบำรุง มีอะไหล่ให้เปลี่ยนตามอายุการใช้งาน
---------------------------------------------------------------------------
บทความที่เกี่ยวข้อง
มาทำความรู้จัก บริษัท ไอ.เอ็ม.อี. รีโวลูชั่น จำกัด
รถขนถ่ายวัสดุอัตโนมัติ สุดยอดตัวช่วยสำหรับอุตสาหกรรมโลจิสติกส์
ตอบโจทย์การประกอบชิ้นงานสำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ ด้วย “เครื่องประกอบชิ้นงาน” เทคโนโลยีสุดล้ำ 

 

____________________________________________________

 

สนใจชมข้อมูลเพิ่มเติมผ่าน Marketplace

 

www.brandexdirectory.com
เว็บไซต์รวมสินค้าอุตสาหกรรมอันดับต้นๆ ของประเทศไทย

 

www.pagesthai.com
เว็บไซต์รวมรายชื่อโรงงานผลิต ซับคอนแทรค และบริการ

 

www.Brand.co.th
เว็บรวมสินค้าแบรนด์และผู้ผลิตสินค้าแบรนด์

 

www.eeczone.com
เว็บรวมรายชื่อผู้ประกอบการภาคตะวันออก

แขนกลหุ่นยนต์ (Industrial Robot) ชนิดใดบ้างที่นิยมในวงการอุตสาหกรรม

       à¸ªà¸³à¸«à¸£à¸±à¸šà¹ƒà¸™à¸¢à¸¸à¸„ปัจจุบันแขนกลหุ่นยนต์ (Industrial Robot) ได้เข้ามามีบทบาทสำคัญกับวงการอุตสาหกรรมในประเทศไทยมากขึ้น เนื่องจากแขนกลหุ่นยนต์เป็นเครื่องจักรที่ถูกออกแบบควบคุมด้วยระบบอัตโนมัติโดยการเขียนโปรแกรมให้เคลื่อนที่ได้อย่างน้อย 3 แกนหรือมากกว่า ซึ่งแขนกลหุ่นยนต์ (Industrial Robot) สามารถออกแบบให้ยึดอยู่กับที่หรือย้ายตำแหน่งไปมาได้ตามความเหมาะสมของประเภทงานที่จะใช้ในงานอุตสาหกรรมนั้นๆ โดยการแบ่งชนิดของหุ่นยนต์จะแบ่งตามลักษณะรูปทรงของพื้นที่ทำงาน (Envelope Geometric) ของจุดต่อ (Joint) ของหุ่นยนต์สามารถแบ่งได้ 2 แบบ ดังนี้ 1. ชนิด Revolute (R) เป็นการหมุนรอบแกน (Rotary) 2.Prismatic (P) เป็นการเคลื่อนที่เชิงเส้น (Linear motion) และเมื่อนำจุดต่อของหุ่นยนต์ทั้งสองแบบมาต่อเข้าด้วยกันอย่างน้อย 3 แกนหลักจะได้พื้นที่ทำงาน ( Work envelope) ที่มีลักษณะแตกต่างกันไปก็จะได้ประเภทแขนกลหุ่นยนต์ต่างๆ ใช้ในวงการอุตสาหกรรม

 

แขนกลหุ่นยนต์ (Industrial Robot)

 

 

ประเภทของแขนกลหุ่นยนต์ที่นิยมใช้ในวงการอุตสาหกรรม ได้แก่


1. Cartesian (Gantry) Robot แกนทั้ง 3 ของแขนกลหุ่นยนต์จะเคลื่อนที่เป็นแบบเชิงเส้น (Prismatic) ถ้าโครงสร้างมีลักษณะคล้าย Overhead Crane จะเรียกว่าเป็นหุ่นยนต์ชนิด Gantry แต่ถ้าหุ่นยนต์ไม่มีขาตั้งหรือขาเป็นแบบอื่น เรียกว่า ชนิด Cartesian

ข้อดี

1. เคลื่อนที่เป็นแนวเส้นตรงทั้ง 3 มิติ
2. การเคลื่อนที่สามารถทำความเข้าใจง่าย
3. มีส่วนประกอบง่ายๆ
4. โครงสร้างแข็งแรงตลอดการเคลื่อนที่


ข้อเสีย

1. ต้องการพื้นที่ติดตั้งมาก
2. บริเวณที่หุ่นยนต์เข้าไปทำงานได้ จะเล็กกว่าขนาดของตัวหุ่นยนต์
3. ไม่สามารถเข้าถึงวัตถุจากทิศทางข้างใต้ได้
4. แกนแบบเชิงเส้นจะ Seal เพื่อป้องกันฝุ่นและของเหลวได้ยาก


การประยุกต์ใช้งาน

เนื่องจากโครงสร้างมีความแข็งแรงตลอดแนวการเคลื่อนที่ ดังนั้นจึงเหมาะกับงานเคลื่อนย้ายของหนักๆ หรือเรียกว่างาน Pick-and-Place เช่น ใช้โหลดชิ้นงานเข้าเครื่องจักร (Machine loading) ใช้จัดเก็บชิ้นงาน (Stacking) นอกจากนี้ยังสามารถใช้ในงานประกอบ (Assembly) ที่ไม่ต้องการเข้าถึงในลักษณะที่มีมุมหมุน เช่น ประกอบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และงาน Test ต่างๆ

2. Cylindrical Robot หุ่นยนต์ประเภทนี้จะมีแกนที่ 2 (ไหล่) และแกนที่ 3 (ข้อศอก) เป็นแบบ Prismatic ส่วนแกนที่ 1 (เอว) จะเป็นแบบหมุน (Revolute) ทำให้การเคลื่อนที่ได้พื้นที่การทำงานเป็นรูปทรงกระบอก

 à¸‚้อดี

1. มีส่วนประกอบไม่ซับซ้อน
2. การเคลื่อนที่สามารถเข้าใจได้ง่าย
3. สามารถเข้าถึงเครื่องจักรที่มีการเปิด – ปิด หรือเข้าไปในบริเวณที่เป็นช่องหรือโพรงได้ง่าย (Loading) เช่น การโหลดชิ้นงานเข้าเครื่อง CNC


ข้อเสีย

1. มีพื้นที่ทำงานจำกัด
2. แกนที่เป็นเชิงเส้นมีความยุ่งยากในการ Seal เพื่อป้องกันฝุ่นและของเหลว


การประยุกต์ใช้งาน

โดยทั่วไปจะใช้ในการหยิบยกชิ้นงาน (Pick-and-Place) หรือป้อนชิ้นงานเข้าเครื่องจักร เพราะสามารถเคลื่อนที่เข้าออกบริเวณที่เป็นช่องโพรงเล็กๆ ได้สะดวก

3. Spherical Robot (Polar) มีสองแกนที่เคลื่อนในลักษณะการหมุน (Revolute Joint) คือแกนที่ 1 (เอว) และแกนที่ 2 (ไหล่) ส่วนแกนที่ 3 (ข้อศอก) จะเป็นลักษณะของการเคลื่อนที่แนวเส้นตรง 

ข้อดี

1. มีปริมาตรการทำงานมากขึ้นเนื่องจากการหมุนของแกนที่ 2 (ไหล่)
2. สามารถที่จะก้มลงมาจับชิ้นงานบนพื้นได้สะดวก


ข้อเสีย

1. มีระบบพิกัด (Coordinate) และส่วนประกอบ ที่ซับซ้อน
2. การเคลื่อนที่และระบบควบคุมมีความซับซ้อนขึ้น


การประยุกต์ใช้งาน

ใช้ในงานที่มีการเคลื่อนที่ในแนวตั้ง (Vertical) เพียงเล็กน้อย เช่น การโหลดชิ้นงานเข้าออกจากเครื่องปั้ม (Press) หรืออาจจะใช้งานเชื่อมจุด (Spot Welding)

 

 à¹à¸‚นกลหุ่นยนต์


4. SCARA Robot จะมีลักษณะแกนที่ 1 (เอว) และแกนที่ 3 (ข้อศอก) หมุนรอบแกนแนวตั้ง และแกนที่ 2 จะเป็นลักษณะการเคลื่อนที่ขึ้นลง (Prismatic) ซึ่งหุ่นยนต์ SCARA จะเคลื่อนที่ได้รวดเร็วในแนวระนาบ และมีความแม่นยำสูง

ข้อดี

1. สามารถเคลื่อนที่ในแนวระนาบ และขึ้นลงได้รวดเร็ว
2. มีความแม่นยำสูง


ข้อเสีย

1. มีพื้นที่ทำงานจำกัด
2. ไม่สามารถหมุน (rotation)ในลักษณะมุมต่างๆได้
3. สามารถยกน้ำหนัก (Payload) ได้ไม่มากนัก


การประยุกต์ใช้งาน

เนื่องจากการเคลื่อนที่ในแนวระนาบและขึ้นลงได้รวดเร็วจึงเหมาะกับงานประกอบชิ้นส่วนทางอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งต้องการความรวดเร็วและการเคลื่อนที่ก็ไม่ต้องการการหมุนมากนัก แต่จะไม่เหมาะกับงานประกอบชิ้นส่วนทางกล (Mechanical Part) ซึ่งส่วนใหญ่การประกอบจะอาศัยการหมุน (Rotation)ในลักษณะมุมต่างๆ นอกจากนี้ SCARA Robot ยังเหมาะกับงานตรวจสอบ (Inspection) งานบรรจุภัณฑ์ (Packaging)

5. Articulated Arm ทุกแกนการเคลื่อนที่จะเป็นแบบหมุน (Revolute) รูปแบบการเคลื่อนที่จะคล้ายกับแขนคน ซึ่งจะประกอบด้วยช่วงเอว ท่อนแขนบน ท่อนแขนล่าง ข้อมือ การเคลื่อนที่ทำให้ได้พื้นที่การทำงาน 

ข้อดี

1. เนื่องจากทุกแกนจะเคลื่อนที่ในลักษณะ ของการหมุนทำให้มีความยืดหยุ่นสูงในการเข้าไปยังจุดต่างๆ
2. บริเวณข้อต่อ (Joint) สามารถ Seal เพื่อป้องกันฝุ่น ความชื้น หรือน้ำ ได้ง่าย
3. มีพื้นที่การทำงานมาก
4. เครื่องตรวจสอบและทดสอบชิ้นงาน สามารถเข้าถึงชิ้นงานทั้งจากด้านบน ด้านล่าง
5. เหมาะกับการใช้มอเตอร์ไฟฟ้า เป็นชุดขับเคลื่อน


ข้อเสีย

1. มีระบบพิกัด (Coordinate) ที่ซับซ้อน
2. การเคลื่อนที่และระบบควบคุมทำความ เข้าใจได้ยากขึ้น
3. ควบคุมให้เคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง (Linear) ได้ยาก
4.โครงสร้างไม่มั่นคงตลอดช่วงการเคลื่อนที่ เพราะบริเวณขอบ Work Envelope ปลายแขนจะ
5. มีการสั่น ทำให้ความแม่ยำลดลง


การประยุกต์ใช้งาน

หุ่นยนต์ชนิดนี้สามารถใช้งานได้กว้างขวางเพราะสามารถเข้าถึงตำแหน่งต่างๆ ได้ดี เช่น งานเชื่อม Spot Welding, Path Welding, งานยกของ, งานตัด, งานทากาว, งานที่มีการเคลื่อนที่ยากๆ เช่น งานพ่นสี งาน Sealing ฯลฯ

ดังนั้นจะเห็นได้ว่า Industrial Robot นั้นมีหลากหลายประเภท แต่ว่าสิ่งหนึ่งที่หุ่นยนต์อุตสาหกรรมมีประโยชน์เหมือนกัน คือ สามารถช่วยทุ่นแรงในการทำงานต่าง ๆ แทนมนุษย์ได้เป็นอย่างดี เช่น งานยกสินค้าจากสายงานการผลิต งานประกอบ งานเชื่อม งานตัด เป็นต้น

 

บริษัท ไอ.เอ็ม.อี. รีโวลูชั่น จำกัด


       à¸šà¸£à¸´à¸©à¸±à¸— ไอ.เอ็ม.อี. รีโวลูชั่น จำกัด เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านผลิตเครื่องจักรระบบอัตโนมัติที่ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมแบบครบวงจร เช่น เครื่องประกอบชิ้นงาน แขนกลหุ่นยนต์ เครื่องจักรระบบอัตโนมัติ หุ่นยนต์หยิบจับชิ้นงาน รถขนถ่ายวัสดุอัตโนมัติ เครื่องตรวจสอบและทดสอบชิ้นงาน เครื่องประกอบชิ้นงาน เป็นต้น ซึ่งทางบริษัทฯ รับออกแบบและผลิตเครื่องจักรระบบอัตโนมัติทุกชนิด โดยมีทีมงานผู้เชี่ยวชาญและเทคโนโลยีที่ทันสมัยสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้เป็นอย่างดี ตั้งแต่ช่วยลูกค้าตัดสินในเรื่องการลงทุน ด้านออโตเมชั้น การติดตั้ง การฝึกอบรมการใช้งาน รวมถึงการดูแลรักษาซ่อมบำรุง มีอะไหล่ให้เปลี่ยนตามอายุการใช้งาน
---------------------------------------------------------------------------
บทความที่เกี่ยวข้อง
มาทำความรู้จัก บริษัท ไอ.เอ็ม.อี. รีโวลูชั่น จำกัด
รถขนถ่ายวัสดุอัตโนมัติ สุดยอดตัวช่วยสำหรับอุตสาหกรรมโลจิสติกส์
ตอบโจทย์การประกอบชิ้นงานสำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ ด้วย “เครื่องประกอบชิ้นงาน” เทคโนโลยีสุดล้ำ 

 

____________________________________________________

 

สนใจชมข้อมูลเพิ่มเติมผ่าน Marketplace

 

www.brandexdirectory.com
เว็บไซต์รวมสินค้าอุตสาหกรรมอันดับต้นๆ ของประเทศไทย

 

www.pagesthai.com
เว็บไซต์รวมรายชื่อโรงงานผลิต ซับคอนแทรค และบริการ

 

www.Brand.co.th
เว็บรวมสินค้าแบรนด์และผู้ผลิตสินค้าแบรนด์

 

www.eeczone.com
เว็บรวมรายชื่อผู้ประกอบการภาคตะวันออก

แขนกลหุ่นยนต์ (Industrial Robot) ชนิดใดบ้างที่นิยมในวงการอุตสาหกรรม

       à¸ªà¸³à¸«à¸£à¸±à¸šà¹ƒà¸™à¸¢à¸¸à¸„ปัจจุบันแขนกลหุ่นยนต์ (Industrial Robot) ได้เข้ามามีบทบาทสำคัญกับวงการอุตสาหกรรมในประเทศไทยมากขึ้น เนื่องจากแขนกลหุ่นยนต์เป็นเครื่องจักรที่ถูกออกแบบควบคุมด้วยระบบอัตโนมัติโดยการเขียนโปรแกรมให้เคลื่อนที่ได้อย่างน้อย 3 แกนหรือมากกว่า ซึ่งแขนกลหุ่นยนต์ (Industrial Robot) สามารถออกแบบให้ยึดอยู่กับที่หรือย้ายตำแหน่งไปมาได้ตามความเหมาะสมของประเภทงานที่จะใช้ในงานอุตสาหกรรมนั้นๆ โดยการแบ่งชนิดของหุ่นยนต์จะแบ่งตามลักษณะรูปทรงของพื้นที่ทำงาน (Envelope Geometric) ของจุดต่อ (Joint) ของหุ่นยนต์สามารถแบ่งได้ 2 แบบ ดังนี้ 1. ชนิด Revolute (R) เป็นการหมุนรอบแกน (Rotary) 2.Prismatic (P) เป็นการเคลื่อนที่เชิงเส้น (Linear motion) และเมื่อนำจุดต่อของหุ่นยนต์ทั้งสองแบบมาต่อเข้าด้วยกันอย่างน้อย 3 แกนหลักจะได้พื้นที่ทำงาน ( Work envelope) ที่มีลักษณะแตกต่างกันไปก็จะได้ประเภทแขนกลหุ่นยนต์ต่างๆ ใช้ในวงการอุตสาหกรรม

 

แขนกลหุ่นยนต์ (Industrial Robot)

 

 

ประเภทของแขนกลหุ่นยนต์ที่นิยมใช้ในวงการอุตสาหกรรม ได้แก่


1. Cartesian (Gantry) Robot แกนทั้ง 3 ของแขนกลหุ่นยนต์จะเคลื่อนที่เป็นแบบเชิงเส้น (Prismatic) ถ้าโครงสร้างมีลักษณะคล้าย Overhead Crane จะเรียกว่าเป็นหุ่นยนต์ชนิด Gantry แต่ถ้าหุ่นยนต์ไม่มีขาตั้งหรือขาเป็นแบบอื่น เรียกว่า ชนิด Cartesian

ข้อดี

1. เคลื่อนที่เป็นแนวเส้นตรงทั้ง 3 มิติ
2. การเคลื่อนที่สามารถทำความเข้าใจง่าย
3. มีส่วนประกอบง่ายๆ
4. โครงสร้างแข็งแรงตลอดการเคลื่อนที่


ข้อเสีย

1. ต้องการพื้นที่ติดตั้งมาก
2. บริเวณที่หุ่นยนต์เข้าไปทำงานได้ จะเล็กกว่าขนาดของตัวหุ่นยนต์
3. ไม่สามารถเข้าถึงวัตถุจากทิศทางข้างใต้ได้
4. แกนแบบเชิงเส้นจะ Seal เพื่อป้องกันฝุ่นและของเหลวได้ยาก


การประยุกต์ใช้งาน

เนื่องจากโครงสร้างมีความแข็งแรงตลอดแนวการเคลื่อนที่ ดังนั้นจึงเหมาะกับงานเคลื่อนย้ายของหนักๆ หรือเรียกว่างาน Pick-and-Place เช่น ใช้โหลดชิ้นงานเข้าเครื่องจักร (Machine loading) ใช้จัดเก็บชิ้นงาน (Stacking) นอกจากนี้ยังสามารถใช้ในงานประกอบ (Assembly) ที่ไม่ต้องการเข้าถึงในลักษณะที่มีมุมหมุน เช่น ประกอบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และงาน Test ต่างๆ

2. Cylindrical Robot หุ่นยนต์ประเภทนี้จะมีแกนที่ 2 (ไหล่) และแกนที่ 3 (ข้อศอก) เป็นแบบ Prismatic ส่วนแกนที่ 1 (เอว) จะเป็นแบบหมุน (Revolute) ทำให้การเคลื่อนที่ได้พื้นที่การทำงานเป็นรูปทรงกระบอก

 à¸‚้อดี

1. มีส่วนประกอบไม่ซับซ้อน
2. การเคลื่อนที่สามารถเข้าใจได้ง่าย
3. สามารถเข้าถึงเครื่องจักรที่มีการเปิด – ปิด หรือเข้าไปในบริเวณที่เป็นช่องหรือโพรงได้ง่าย (Loading) เช่น การโหลดชิ้นงานเข้าเครื่อง CNC


ข้อเสีย

1. มีพื้นที่ทำงานจำกัด
2. แกนที่เป็นเชิงเส้นมีความยุ่งยากในการ Seal เพื่อป้องกันฝุ่นและของเหลว


การประยุกต์ใช้งาน

โดยทั่วไปจะใช้ในการหยิบยกชิ้นงาน (Pick-and-Place) หรือป้อนชิ้นงานเข้าเครื่องจักร เพราะสามารถเคลื่อนที่เข้าออกบริเวณที่เป็นช่องโพรงเล็กๆ ได้สะดวก

3. Spherical Robot (Polar) มีสองแกนที่เคลื่อนในลักษณะการหมุน (Revolute Joint) คือแกนที่ 1 (เอว) และแกนที่ 2 (ไหล่) ส่วนแกนที่ 3 (ข้อศอก) จะเป็นลักษณะของการเคลื่อนที่แนวเส้นตรง 

ข้อดี

1. มีปริมาตรการทำงานมากขึ้นเนื่องจากการหมุนของแกนที่ 2 (ไหล่)
2. สามารถที่จะก้มลงมาจับชิ้นงานบนพื้นได้สะดวก


ข้อเสีย

1. มีระบบพิกัด (Coordinate) และส่วนประกอบ ที่ซับซ้อน
2. การเคลื่อนที่และระบบควบคุมมีความซับซ้อนขึ้น


การประยุกต์ใช้งาน

ใช้ในงานที่มีการเคลื่อนที่ในแนวตั้ง (Vertical) เพียงเล็กน้อย เช่น การโหลดชิ้นงานเข้าออกจากเครื่องปั้ม (Press) หรืออาจจะใช้งานเชื่อมจุด (Spot Welding)

 

 à¹à¸‚นกลหุ่นยนต์


4. SCARA Robot จะมีลักษณะแกนที่ 1 (เอว) และแกนที่ 3 (ข้อศอก) หมุนรอบแกนแนวตั้ง และแกนที่ 2 จะเป็นลักษณะการเคลื่อนที่ขึ้นลง (Prismatic) ซึ่งหุ่นยนต์ SCARA จะเคลื่อนที่ได้รวดเร็วในแนวระนาบ และมีความแม่นยำสูง

ข้อดี

1. สามารถเคลื่อนที่ในแนวระนาบ และขึ้นลงได้รวดเร็ว
2. มีความแม่นยำสูง


ข้อเสีย

1. มีพื้นที่ทำงานจำกัด
2. ไม่สามารถหมุน (rotation)ในลักษณะมุมต่างๆได้
3. สามารถยกน้ำหนัก (Payload) ได้ไม่มากนัก


การประยุกต์ใช้งาน

เนื่องจากการเคลื่อนที่ในแนวระนาบและขึ้นลงได้รวดเร็วจึงเหมาะกับงานประกอบชิ้นส่วนทางอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งต้องการความรวดเร็วและการเคลื่อนที่ก็ไม่ต้องการการหมุนมากนัก แต่จะไม่เหมาะกับงานประกอบชิ้นส่วนทางกล (Mechanical Part) ซึ่งส่วนใหญ่การประกอบจะอาศัยการหมุน (Rotation)ในลักษณะมุมต่างๆ นอกจากนี้ SCARA Robot ยังเหมาะกับงานตรวจสอบ (Inspection) งานบรรจุภัณฑ์ (Packaging)

5. Articulated Arm ทุกแกนการเคลื่อนที่จะเป็นแบบหมุน (Revolute) รูปแบบการเคลื่อนที่จะคล้ายกับแขนคน ซึ่งจะประกอบด้วยช่วงเอว ท่อนแขนบน ท่อนแขนล่าง ข้อมือ การเคลื่อนที่ทำให้ได้พื้นที่การทำงาน 

ข้อดี

1. เนื่องจากทุกแกนจะเคลื่อนที่ในลักษณะ ของการหมุนทำให้มีความยืดหยุ่นสูงในการเข้าไปยังจุดต่างๆ
2. บริเวณข้อต่อ (Joint) สามารถ Seal เพื่อป้องกันฝุ่น ความชื้น หรือน้ำ ได้ง่าย
3. มีพื้นที่การทำงานมาก
4. สามารถเข้าถึงชิ้นงานทั้งจากด้านบน ด้านล่าง
5. เหมาะกับการใช้มอเตอร์ไฟฟ้า เป็นชุดขับเคลื่อน


ข้อเสีย

1. มีระบบพิกัด (Coordinate) ที่ซับซ้อน
2. การเคลื่อนที่และระบบควบคุมทำความ เข้าใจได้ยากขึ้น
3. ควบคุมให้เคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง (Linear) ได้ยาก
4.โครงสร้างไม่มั่นคงตลอดช่วงการเคลื่อนที่ เพราะบริเวณขอบ Work Envelope ปลายแขนจะ
5. มีการสั่น ทำให้ความแม่ยำลดลง


การประยุกต์ใช้งาน

หุ่นยนต์ชนิดนี้สามารถใช้งานได้กว้างขวางเพราะสามารถเข้าถึงตำแหน่งต่างๆ ได้ดี เช่น งานเชื่อม Spot Welding, Path Welding, งานยกของ, งานตัด, งานทากาว, งานที่มีการเคลื่อนที่ยากๆ เช่น งานพ่นสี งาน Sealing ฯลฯ

ดังนั้นจะเห็นได้ว่า Industrial Robot นั้นมีหลากหลายประเภท แต่ว่าสิ่งหนึ่งที่หุ่นยนต์อุตสาหกรรมมีประโยชน์เหมือนกัน คือ สามารถช่วยทุ่นแรงในการทำงานต่าง ๆ แทนมนุษย์ได้เป็นอย่างดี เช่น งานยกสินค้าจากสายงานการผลิต งานประกอบ งานเชื่อม งานตัด เป็นต้น

 

บริษัท ไอ.เอ็ม.อี. รีโวลูชั่น จำกัด


       à¸šà¸£à¸´à¸©à¸±à¸— ไอ.เอ็ม.อี. รีโวลูชั่น จำกัด เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านผลิตเครื่องจักรระบบอัตโนมัติที่ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมแบบครบวงจร Auto assembly machine เช่น เครื่องประกอบชิ้นงาน แขนกลหุ่นยนต์ เครื่องจักรระบบอัตโนมัติ หุ่นยนต์หยิบจับชิ้นงาน รถขนถ่ายวัสดุอัตโนมัติ เครื่องตรวจสอบและทดสอบชิ้นงาน เครื่องประกอบชิ้นงาน เป็นต้น ซึ่งทางบริษัทฯ รับออกแบบและผลิตเครื่องจักรระบบอัตโนมัติทุกชนิด โดยมีทีมงานผู้เชี่ยวชาญและเทคโนโลยีที่ทันสมัยสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้เป็นอย่างดี ตั้งแต่ช่วยลูกค้าตัดสินในเรื่องการลงทุน ด้านออโตเมชั้น การติดตั้ง การฝึกอบรมการใช้งาน รวมถึงการดูแลรักษาซ่อมบำรุง มีอะไหล่ให้เปลี่ยนตามอายุการใช้งาน
---------------------------------------------------------------------------
บทความที่เกี่ยวข้อง
มาทำความรู้จัก บริษัท ไอ.เอ็ม.อี. รีโวลูชั่น จำกัด
รถขนถ่ายวัสดุอัตโนมัติ สุดยอดตัวช่วยสำหรับอุตสาหกรรมโลจิสติกส์
ตอบโจทย์การประกอบชิ้นงานสำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ ด้วย “เครื่องประกอบชิ้นงาน” เทคโนโลยีสุดล้ำ 

 

____________________________________________________

 

สนใจชมข้อมูลเพิ่มเติมผ่าน Marketplace

 

www.brandexdirectory.com
เว็บไซต์รวมสินค้าอุตสาหกรรมอันดับต้นๆ ของประเทศไทย

 

www.pagesthai.com
เว็บไซต์รวมรายชื่อโรงงานผลิต ซับคอนแทรค และบริการ

 

www.Brand.co.th
เว็บรวมสินค้าแบรนด์และผู้ผลิตสินค้าแบรนด์

 

www.eeczone.com
เว็บรวมรายชื่อผู้ประกอบการภาคตะวันออก

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15